วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554

สุรสีห์ อิทธกุล-แหวน ธิติมา สุตสุนทร: ยุโรป




สุรสีห์ อิทธกุล-แหวน ธิติมา สุตสุนทร: ยุโรป
Vinyl rip | Rock, Vocal | FLAC, MP3 | Scans | Filesonic

ยุโรป เป็นซาวด์แทรคหนังเรื่อง "วัยระเริง" อัลบัมชุดนี้น่าสนใจตรงที่วงดนตรี "บัตเตอร์ฟลาย" (วงร็อคในตำนานเพลงไทย) นักดนตรีอย่างสุรสีห์ อิทธิกุล มาทำดนตรี และนักร้องอย่างแหวนมาทำน่าทีขับร้องในหลายเพลง โดยมี เต๋อ เรวัต พุทธินันท์ เป็นโปรดิวเซอร์) อัลบัมยุโรปน่าจะเป็นอัลบัมคลาสสิกร็อคอัลบัมหนึ่งของไทย และหลายเพลงในอัลบัมทำดนตรีได้อย่างน่าทึ่ง ซึ่งในอัลบัมปกติของสุรสีห์เราอาจจะไม่ได้ยินเสียงกีตาร์หนัก ๆ อย่างนี้ก็เป็นได้

เนื้อเพลงในเพลง "ยุโรป" เอาท์ไปจากข้อเท็จจริงในปัจจุบันเพราะเนื้อหาเกี่ยวกับยุโรปในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิศาสตร์ไปจนหมดแล้ว แต่ในฐานะของดนตรีมันยังคงเป็นเพลงแนวร็อคที่น่าฟังมาก

ส่วนเพลงที่น่าสนใจคือเพลง "หยาดเพชร" และ "แค่คืบ" ซึ่งคัพเวอร์เพลงเก่าได้อารมณ์บัลลาดร็อคดีแท้ แล้วเพลงที่น่าสนใจ "ชีวิตนี้เพื่อใคร" และ "จากวันนั้นถึงวันนี้"

อัลบัมชุดยุโรป Out Print ไปนานแล้ว อัลบัมนี้ผมบันทึกมาจากแผ่นเสียง (Long Play) ซึ่งให้เสียงได้ไม่เลวทีเดียว

รายชื่อเพลง
หน้า A

1.ยุโรป
2.เฮฮาปาร์ตี
3.หยาดเพชร
4.ทิวเขา แมกไม้ สายธาร
5.ดนตรีในหัวใจ

หน้า B
1.แค่คืบ
2.จังหวะ
3.ชีวิตนี้เพื่อใคร
4.จับตำรามาใส่ตลับ
5.จากวันนั้นถึงวันนี้

Filesonic

Flac

MP3

Scans

วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Brad Mehldau: Introducing Brad Mehldau (1995)



แบรด เมลห์ดาว และวงทรีโอของเขาเป็นวงที่มองไปยังเบื้องหน้า
Larry มือเบสที่แสดงให้เห็นว่าเขาเป็นดังทหารที่ยืนอยู่เคียงข้างแบรด รวมถึง Christian McBride
และ Jorge Rossy กับ Brian Blade ซึ่งเล่นกลองได้อย่างดี พวกเขาทั้งหมดมีทีมเวิร์คที่เข้าขากัน
ชุดนี้แสดงถึงรสนิยมและมาตรฐานการเลือกเพลงของแบรด "Countdown," "It Might As Well Be Spring," and "From This Moment On" ของโครลเทรนทำหน้าที่ของแจ๊สแบบสแตนดาร์ดได้ดี

Tracks
:
1. It Might As Well Be Spring
2. Countdown
3. My Romance
4. Angst
5. Young Werther
6. Prelude To A Kiss
7. London Blues
8. From This Moment On
9. Say Goodbye
==========================================
Personnel:
Brad Mehldou – piano
Larry Grenadier – bass (1-5)
Jorge Rossy – drums (1-5)
Christian McBride – bass (6-9)
Brian Blade – drums (6-9)
=========================================

วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Brad Mehldau: Day Is Done


Brad Mehldau - Day Is Done



แบรด เมห์ลดาว เป็นคนแจ๊สเปียโนที่โดดเด่นมากคนหนึ่งในวงการแจ๊สร่วมสมัย นับจากบิลล์ อีแวนส์ - คีธ จาเร็ธ แล้วเขาเป็นคนแจ๊สที่มีความโดดเด่นในรูปแบบทางดนตรี การตีความเพลงของแบรดอยู่ในรูปแบบที่น่าทึ่ง บางท่วงทำนองอดคิดถึงอีแวนส์ไม่ได้ ซึ่งน้อยคนนักจะจะทำให้ถึงจุดที่อีแวนส์เคยทำมาก่อน

Tracks: Knives Out; Alfie; Martha My Dear; Day is Done; Artis; Turtle Town; She's Leaving Home; Granada; 50 Ways to Leave Your Lover; No Moon At All.

Personnel: Brad Mehldau: piano; Larry Grenadier; bass; Jeff Ballard: drums.

Link Download

วันจันทร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554

Tina Brook: True Blue




Tina Brook: True Blue
Blue Note Records

It is heartening to see an artist as obscure as tenor saxophonist Tina Brooks given the Rudy Van Gelder Edition treatment by Blue Note in this winning reissue. I have to admit surprise that Blue Note didn't marginalize Brooks, like Sam Rivers , in the label's limited-edition Connoisseur series. Frankly, Rivers is the more sophisticated artist with a potentially broader audience in my judgement, but Brooks has his lasting value also.

There is a terrifically pensive blues cry in every Brooks solo on this release that is mesmerizing. While he's often shadowed by trumpeter Freddie Hubbard, the two gracefully bring out some profoundly thoughtful improvising from each other. None of the five tunes (and two alternative takes) are exactly inspiring tunes. But Brooks packs a lot of raw emotionality and innovative musical craft into his solos. Although the liner notes makes much of the Sonny Rollins influence, I actually hear a lot more of a tone I'd connect to Booker Erwin, Ornette Coleman , or Brooks' companion in the Blue Note recording studio, Jackie McLean . Anyone who enjoyed the dramatic support Brooks gave McLean on Jackie's Bag should treasure this, the only album Brooks released under his name as leader during his lifetime. Brooks sounds like a desperately driven musician wanting something beyond the bop of 1960 and never quite making the breakthrough to freedom that McLean found through his association with Ornette Coleman. The rhythm section of drummer Art Taylor, bassist Sam Jones, and pianist Duke Jordan simply never push him that hard to explore new musical territory. I wonder who Brooks would have become had he worked with a drummer like Eddie Blackwell or Elvin Jones.

What True Blue gives generously is a full blooded musical portrait of a hard-working and distinctive sounding tenor man with a blue cry stuck in his throat and heart. It is an achievement to treasure.


วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

Chet Baker - The Italian Sessions (1962)



เป็นอัลบัมที่บันทึกเสียงในกรุงโรม อิตลี อัลบัมชุดนี้ของเช็ต เบเกอร์ปราศจากเสียงร้องอันนุ่มลึกของเขา แต่มันก็ทำให้ผู้ฟังได้รับรสถึงบรรยากาศอันแสนเหงาเศร้าจากตัวโน๊ตที่เปล่งมาจากทรัมเป็ตของเขาทุกอณู นี่เป็นอัลบัมเพลงแจ๊สที่งาม และเป็นร่องรอยยูโรเปียนแจ๊ส ซึ่งถูกปูทางมาด้วยความอ่อนโยนทางความรู้สึก
Tracks:
1 Well You Needn't
2 These Foolish Things
3 Barbados
4 Star Eyes
5 Somewhere Over The Rainbow
6 Pent-Up House
7 Ballata In Forma Di Blues
8 Blues In The Closet

Recorded at RCA Studios, Rome, Italy in March 1962. Includes liner notes by Jim Macnie.

Trumpet - Chet Baker
Guitar - René Thomas
Bass - Benoit Quersin
Drums - Daniel Humair
Piano - Amadeo Tommasi
Saxophone [Tenor], Flute - Bobby Jaspar